บริการให้คำปรึกษารับยื่นวีซ่าประเทศสาธารณรัฐแองโกลา
Republic of Angola Visa Service in Thailand
Republic of Angola Visa Service in Thailand
NYC Visa Service มีประสบการณ์ในการทำวีซ่าประเทศสาธารณรัฐแองโกลา มาเป็นเวลามากกว่ากว่าสิบปี โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการคำปรึกษาท่านตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นวีซ่าท่องเที่ยวประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าเยี่ยมญาติประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าเยี่ยมเพื่อนประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่านักเรียนประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าถาวรประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าแต่งงานประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าคู่หมั้นประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าย้ายถิ่นฐานประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าติดตามประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าทำงานประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าดูงานประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าฝึกงานประเทศสาธารณรัฐแองโกลา วีซ่าธุรกิจประเทศสาธารณรัฐแองโกลานอกจากนี้ยังมีบริการแปลเอกสารต่างๆ ทุกประเภท นอกจากนี้เรามีบริการให้คำปรึกษาในการยื่นขอวีซ่า วิเคราะห์ปัญหาของผู้ต้องการยื่นวีซ่า ประเมินโอกาสในการยื่นขอวีซ่าของท่านให้มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและเพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ของผู้ขอยื่นวีซ่า และเพื่อให้ลูกค้าทุกท่านที่เข้ามาใช้บริการเราได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เรายังมีบริการเป็นตัวแทนยื่นขอวีซ่าให้กับท่าน เป็นตัวแทนไปรับวีซ่าแทนท่าน และบริการจัดส่งเอกสารสำหรับท่านที่อยู่ต่างจังหวัดอีกด้วยแนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
จากการที่ NYC Visa Service มีความชำนาญในเรื่องกฎหมายตรวจคนเข้าเมืองของประเทศสาธารณรัฐแองโกลา จึงทำให้ได้รับการอนุมัติวีซ่าเร็วและง่ายขึ้น จึงพร้อมดำเนินการให้แก่ท่าน ตั้งแต่จัดเตรียมเอกสาร ประเมินแนะนำขั้นตอน พร้อมแก้ปัญหาที่จะเกิด การเตรียมตัว รวมไปถึงดูแลยื่นเอกสารที่สถานทูตในแต่ล่ะประเทศ ถ้าคุณเป็นคนนึงที่อยากเดินทางไปต่างประเทศ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดๆ และไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร เราสามารถให้คำปรึกษา และบริการยื่นวีซ่าให้คุณได้
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้ง แองโกลาตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริกาบนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก
พื้นที่ 1,246,700 ตร.กม. (481,354 ตร.ไมล์)
ประชากร 16.4 ล้านคน ประกอบด้วยชาวพื้นเมือง
เผ่า Ovimbundu ร้อยละ 37
เผ่า Kimbundu ร้อยละ 25
เผ่า Bakongo ร้อยละ 13
เผ่า Mestico ร้อยละ 2
ชาวยุโรป ร้อยละ 1 และชนชาติอื่น ๆ ร้อยละ 22
อัตราการเพิ่มประชากร ร้อยละ 2.18 (2549)
เมืองหลวง กรุงลูอันดา (Luanda)
วันชาติ 11 พฤศจิกายน (Independence Day)
รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบหลายพรรค มีประธานาธิบดีเป็นประมุขภายใต้รัฐบาลปรองดองแห่งชาติชั่วคราว (Transitional Government of National Unity)
ประมุขแห่งรัฐ ประธานาธิบดี José Eduardo dos Santos
นายกรัฐมนตรี นาย Fernando da Piedade Dias dos Santos
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นาย João Bernardo de Miranda (เข้ารับตำแหน่งตั้งแต่พ.ศ. 2542)
ฝ่ายบริหาร มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล โดยได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้ง นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ มีระบบสภาเดียวเรียกว่าสภาแห่งสาธารณรัฐ ประกอบด้วยสมาชิก 220 คน ซึ่งได้รับเลือกตั้งโดยระบบสัดส่วน มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี
ฝ่ายตุลาการ มีศาลฎีกาเป็นศาลสูงสุด โดยผู้พิพากษาได้รับการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี
พรรคการเมือง ที่สำคัญ มี 2 พรรคคือ Popular Movement for the Liberation of Angola (MPLA) และ National Union for the Total Independence of Angola (UNITA)
การแบ่งเขตการปกครอง แบ่งออกเป็น 18 Provinces คือ Bengo, Benguela, Bie, Cabinda, Cuando Cubango, Cuanza Norte, Cuanza Sul, Cunene, Huambo, Huila, Luanda, Lunda Norte, Lunda Sul, Malanje, Moxico, Namibe, Uige, Zaire
ภาษา ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการ และภาษา Bantu เป็นภาษาท้องถิ่น
ศาสนา ศาสนาคริสต์โรมันคาทอลิคร้อยละ 38 โปรเตสแตนท์ร้อยละ 15 ความเชื่อดั้งเดิมของท้องถิ่นร้อยละ 47
ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมัน เพชร ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม แก๊ส เหล็ก ทองแดง แมงกานีส
สกุลเงิน Kwanzas
อัตราแลกเปลี่ยน 80.5 Kwanzas ต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ (2549)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ 28.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2549)
รายได้ประชาชาติต่อหัว 1,410 ดอลลาร์สหรัฐ (2549)
อัตราการเจริญเติบโต 14.2% (2549)
ทางเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 13.2 (2549)
หนี้สินต่างประเทศ 14.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2549)
สินค้าเข้าที่สำคัญ เครื่องจักรกล อุปกรณ์ไฟฟ้า ยานพาหนะและชิ้นส่วน ยารักษาโรค อาหาร สิ่งทอ อุปกรณ์ทางการทหาร
สินค้าออกที่สำคัญ น้ำมันดิบ เพชร ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ กาแฟ เส้นใย ปลา
ประเทศคู่ค้าสำคัญ ส่งออกไปยัง สหรัฐ ฯ 38.9% จีน 29% ฝรั่งเศส 7.7%, ชิลี 5.3% สเปน 2.9%
นำเข้าจากเกาหลีใต้ 27.5% โปรตุเกส 12.6% สหรัฐฯ 11.8% แอฟริกาใต้ 7.2% บราซิล 5.4% (2549)
การคมนาคม
ถนน ในปี 2537 ถนนทั้งหมดมีความยาว 75,000 กิโลเมตร และในปี 2532 มีรถยนต์โดยสารส่วนบุคคลจำนวน 125,000 คัน และยานพาหนะที่ใช้ในการพาณิชย์จำนวน 42,000 คัน ถนนหลายสายยังคงมีกับระเบิดฝังอยู่ สืบเนื่องมาจากสงครามกลางเมือง ขณะนี้โครงการกู้กับระเบิดและซ่อมแซมถนนกำลังดำเนินอยู่
ทางรถไฟ ในปี 2530 ทางรถไฟที่เปิดให้บริการมีความยาว 2,952 กิโลเมตร ในปี 2536 มีผู้โดยสารรถไฟ 4,000,000 คน และขนส่งสินค้า 2.8 ล้านตัน
การบินพลเรือน มีสนามบินนานาชาติที่เมือง Luanda สายการบินแห่งชาติชื่อ Linhas Aereas de Angola (TAAG) นอกจากนี้ สายการบินอื่นที่บินผ่าน ได้แก่ Aeroflot, Air France, Air Gabon, Air Namibia, Ethiopian Airlines, Lina Congo, SABENA, South African Airways, และ TAP Air Portugal ในปี 2534 มีผู้โดยสารเครื่องบินจำนวน 0.46 ล้านคน
การเดินเรือ มีท่าเรือที่เมือง Luanda, Libito และ Namibe มีบริษัทเดินเรือของรัฐ 3 บริษัท
โทรคมนาคม ในปี 2548 มีโทรศัพท์จำนวน (โดยประมาณ) 94,300 เครื่อง สถานีวิทยุดำเนินงานโดยรัฐบาล ในปี 2536 มีวิทยุจำนวน 0.45 ล้านเครื่องและโทรทัศน์จำนวน 50,000 เครื่อง
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
การเมืองการปกครอง
ประวัติศาสตร์โดยสังเขป
แองโกลาได้รับเอกราชจากโปรตุเกสเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 1975 (2518) และเป็นประเทศสังคมนิยมค่ายโซเวียตซึ่งตกอยู่ในภาวะสงครามกลางเมืองมาโดยตลอด ต่อมาหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต แองโกลาได้เปลี่ยนชื่อประเทศจาก “People’s Republic of Angola” เป็น “Republic of Angola” เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 1992 (2535) และดำเนินนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจเสรี และระบอบประชาธิปไตยแบบหลายพรรคการเมืองแทนการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์เดิม
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
สถานการณ์การเมือง
ภายหลังจากการลงนามข้อตกลงสันติภาพ (Bicess Peace Accord) เมื่อวันที่ 1พฤษภาคม 1991 (2534) แองโกลาได้จัดการเลือกตั้งแบบหลายพรรคการเมืองเมื่อวันที่ 29-30 กันยายน 1992 (2535) และผลปรากฏว่าพรรค MPLA ของรัฐบาลชนะการเลือกตั้งโดยได้ที่นั่งส่วนใหญ่ในสภา แต่พรรคฝ่ายค้าน UNITA ไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง แม้ UN ยืนยันว่าเป็นการเลือกตั้งที่บริสุทธิ์ยุติธรรม และสหรัฐฯ ได้รับรองรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในครั้งนี้ (19 พฤษภาคม 2536) ดังนั้น UNITA จึงหันไปใช้วิธีการรุนแรงเข้าต่อต้านรัฐบาลอีก
ประชาคมโลกได้พยายามบีบให้ UNITA หยุดการต่อสู้ และ UN ได้พยายามจัดให้ทั้งสองฝ่ายเจรจาสันติภาพ ในที่สุดทั้งสองฝ่ายได้ร่วมลงนามในสัญญาสันติภาพ Lusaka Protocol ที่ประเทศแซมเบีย เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 1994 (2537) อย่างไรก็ตามประธานาธิบดี Dos SANTOS และนาย SAVIMBI ผู้นำฝ่าย UNITA มิได้ลงนามในสัญญาสันติภาพด้วยตนเอง จึงทำให้มีการสู้รบกันอย่างประปราย จนกระทั่งประธานาธิบดี Dos SANTOS และนาย SAVIMBI ตกลงกันในการประชุม Angolan Peace Summit ซึ่งมีขึ้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 1995 (2538) ว่าจะร่วมกันปฏิบัติตามบทบัญญัติ Lusaka Protocol ทั้งนี้ จึงส่งผลให้ UN สามารถส่งกองกำลังสันติภาพจำนวนกว่า 7,000 นาย เข้าไปในแองโกลาเพื่อควบคุมสถานการณ์ในแองโกลาและช่วยให้การแบ่งอำนาจของทั้งสองฝ่ายดำเนินไปโดยสันติ
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ต่อมา มีการพบกันระหว่างประธานาธิบดี Dos SANTOS และ Jonas SAVIMBI เป็นครั้งที่ 4 ที่ Libreville ในกาบอง เพื่อหารือเรื่องการปลดอาวุธของกองกำลัง UNITA และการเปิดเส้นทางการเดินทางภายในประเทศโดยเฉพาะในส่วนเมือง Cafunfu ศูนย์กลางการผลิตเพชรของประเทศ เมือง Soyo เมืองผลิตน้ำมัน และเมือง Huambo เมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของแองโกลาที่อยู่ในการดูแลของฝ่ายกบฏ UNITA แต่ยังเป็นที่น่าสงสัยว่าฝ่ายกบฏ UNITA มีความจริงใจมากน้อยเพียงใดต่อสนธิสัญญาการหยุดยิง เนื่องจากการปลดอาวุธของกองกำลัง UNITA จำนวนกว่า 60,000 คนนั้นเป็นไปอย่างเชื่องช้า
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
อย่างไรก็ตาม ทั้งสองฝ่ายสามารถบรรลุการจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติอีกครั้งในปี 1997 (2540) แต่หลังจากนั้นไม่นานก็ได้เกิดการสู้รบกันอีกเนื่องจากฝ่าย UNITA กล่าวหาว่าฝ่ายรัฐบาลไม่มีความจริงใจที่จะปฏิบัติตาม Lusaka Protocol ในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2002 (2545) นาย Savimbi ผู้นำของ UNITA ได้ถูกสังหารโดยกองกำลังของรัฐบาล ซึ่งการเสียชีวิตของผู้นำ UNITA ครั้งนี้ นับเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญซึ่งนำไปสู่การจัดทำข้อตกลงหยุดยิงระหว่างรัฐบาลกับ UNITA ในเดือนเมษายนปีเดียวกัน ในขณะเดียวกันสหประชาชาติก็ได้เข้ามามีบทบาทในการปลดอาวุกองกำลัง UNITA และดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตาม Lusaka Protocol ต่อมา คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้ประกาศยกเลิกการคว่ำบาตร UNITA ตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2002 (2545) เป็นต้นไป ในขณะที่ UNITA ก็ได้ปรับเปลี่ยนสถานะมาเป็นพรรคการเมืองเพื่อเตรียมการแข่งขันกับพรรค MPLA (Popular Movement for the Liberation of Angola) ในการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2005 (2548) อย่างไรก็ตาม UNITA ต้องประสบกับปัญหาการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นพรรคการเมืองที่เข้มแข็งเนื่องจากขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภายในของตนเอง
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ขณะเดียวกัน พรรค MPLA ซึ่งมีประธานาธิบดี Dos Santos เป็นหัวหน้าพรรค มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นภายหลังจากที่ได้รับชัยชนะในสงครามกลางเมือง การบริหารประเทศของนาย Dos Santos เน้นการควบคุมสื่อและเศรษฐกิจอย่างเข้มงวดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน นอกจากนั้น ประธานาธิบดี Dos Santos ได้พยายามสร้างเครือข่ายอำนาจให้แก่ตนเองโดยอาศัยระบบอุปถัมถ์และการควบคุมจากส่วนกลางเป็นพื้นฐาน
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ภายหลังจากการสิ้นสุดสงครามกลางเมือง แม้ว่าแองโกลาจะถูกกดดันจากประชาคมระหว่างประเทศให้รีบดำเนินการจัดการเลือกตั้ง แต่จนถึงบัดนี้ยังมิได้มีการกำหนดวันที่แน่นอน โดยรัฐบาลได้อ้างถึงความไม่พร้อมในการรวบรวมสถิติประชากรและความจำเป็นในการซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ที่ถูกทำลายในช่วงสงคราม อย่างไรก็ดี มีการคาดการณ์กันว่า การเลือกตั้งในแองโกลาจะยังคงไม่เกิดขึ้นภายในต้นปี 2007 (2550) นี้ และยังไม่สามารถระบุได้ว่า ประธานาธิบดี Dos Santos จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีอีกสมัยหรือไม่
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
ความสัมพันธ์กับประเทศในโลกตะวันตก
ในอดีต รัฐบาลประเทศตะวันตกไม่ให้การรับรองรัฐบาลของนาย Dos Santos ด้วยเหตุผลในเรื่องของความไม่โปร่งใสในการบริหารประเทศ อีกทั้งรัฐบาลของนาย Dos Santos ยังรับการสนับสนุนด้านอาวุธจากสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็นและช่วงการทำสงครามกลางเมืองกับกลุ่ม UNITA อย่างไรก็ดี ปัจจุบันรัฐบาลแองโกลาได้ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ด้านการเมืองและการต่างประเทศใหม่ โดยคำนึงถึงการเข้ามามีส่วนร่วมของ UNITA ในการกำหนดนโยบายต่างประเทศ และเน้นการดำเนินโยบายต่างประเทศที่โปร่งใสและคำนึงถึงผลในทางปฏิบัติ (Pragmatic and Transparent Diplomacy) ทั้งนี้ แองโกลามีท่าทีที่ชัดเจนในการสนับสนุนหลักการอยู่ร่วมกันโดยสันติ การไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน และการละเว้นการใช้กำลังในการยุติข้อพิพาท โดยเฉพาะภายหลังปี 2539 ที่แองโกลาค้นพบบ่อน้ำมันแหล่งใหม่ในน้ำลึก เป็นเวลาเดียวกันกับที่สหรัฐอเมริกาต้องการลดการพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันจากตะวันออกกลาง สหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตก จึงเริ่มมีท่าทีผ่อนปรนและเป็นมิตรกับ แองโกลามากยิ่งขึ้น
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในเอเชีย
ในอดีต แองโกลาและแอฟริกาใต้แข็งขันที่จะก้าวขึ้นเป็นผู้นำของอนุภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ อีกทั้ง ผู้นำของทั้ง 2 ประเทศมีความเห็นไม่ตรงกันในการแก้ไขปัญหาสงครามกลางเมืองในแองโกลา ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างกันไม่ค่อยราบรื่นนัก อย่างไรก็ตาม แองโกลาเป็นประเทศที่มีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และเคยประสบความสำเร็จในการไกล่เกลี่ยให้ยูกันดาถอนกองกำลังออกจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
ในทวีปเอเชีย จีนเป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับแองโกลามากที่สุด โดยขณะนี้ มีนักธุรกิจจีนจำนวนมากเข้าไปลงทุนในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง การสื่อสารโทรคมนาคม การค้า พลังงานและเหมืองแร่ และขณะเดียวกันอินเดียก็เป็นอีกประเทศหนึ่งจากเอเชียที่กำลังเริ่มขยายการลงทุนเข้าไปในแองโกลาเช่นกัน
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
เศรษฐกิจการค้า
สภาพเศรษฐกิจ
แองโกลาเป็นประเทศใหญ่ที่มีประชากรน้อย มีทรัพยากรธรรมชาติที่มั่งคั่ง ได้แก่ น้ำมัน เพชร ทองคำ ทองแดง เหล็ก แมงกานีส ยูเรเนียม และทรัพยากรประมง อย่างไรก็ตาม รัฐบาลใช้รายได้จากน้ำมันและเพชรของประเทศไปในการซื้ออาวุธเพื่อทำสงครามต่อสู้กับฝ่ายกบฏที่กินเวลานับสิบปี ประกอบกับการบริหารจัดการที่ผิดพลาดของรัฐบาลเอง ด้วยเหตุนี้ แองโกลาจึงตกอยู่ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ประสบปัญหาเงินเฟ้อและปัญหาการขาดดุลการค้า ปัญหาหนี้สินต่างประเทศ รวมทั้งปัญหาการขาดแคลนอาหารภายในประเทศอย่างรุนแรงจนต้องนำเข้าอาหารจากต่างประเทศถึงร้อยละ 75 ทั้งนี้ ปัจจุบัน แองโกลามีรายได้จากการส่งออกน้ำมันเป็นมูลค่ามหาศาล ทำให้สถานการณ์เศรษฐกิจภายในประเทศดีขึ้น
ทรัพยากรน้ำมัน
ปัจจุบัน เศรษฐกิจแองโกลาพึ่งพาน้ำมันเป็นหลัก โดยในปี 2548 การส่งออกน้ำมันคิดเป็นร้อยละ 65 ของ GDP และร้อยละ 90 ของรายได้รัฐบาล ทั้งนี้ รายได้จากน้ำมันได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2543-2548 คือ เพิ่มขึ้นจาก 4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็น 10.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยแองโกลาส่งออกน้ำมันมากกว่าร้อยละ 90 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด แม้ว่าจะไม่ได้เป็นสมาชิกของกลุ่ม OPEC แต่แองโกลา เป็นประเทศแอฟริกาที่ส่งออกน้ำมันเป็นปริมาณมากที่สุดลำดับสองรองจากไนจีเรีย ปัจจุบัน แองโกลามีแหล่งน้ำมันดิบสำรองประมาณ 5.7 พันล้านบาร์เรล และผลิตน้ำมันได้ วันละประมาณ 700,000 บาร์เรล
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ภาคการเกษตร
แองโกลาเคยเป็นประเทศที่สามารถผลิตผลผลิตทางการเกษตรได้มากประเทศหนึ่งของแอฟริกา (เคยผลิตกาแฟได้มากเป็นอันดับ 5 ของโลก) แต่ภาวะการสู้รบและกับระเบิดที่ฝังอยู่อย่างกระจัดกระจาย ทำให้แองโกลาประสบปัญหาขาดแคลนปัจจัยพื้นฐานในการทำการเกษตร เช่น แหล่งน้ำ ปุ๋ย และเมล็ดพันธุ์ต่างๆ อย่างไรก็ดี สถานการณ์ภายในแองโกลามีแนวโน้มที่จะดีขึ้น โดยบริษัทต่างชาติหลายบริษัทเริ่มเข้าไปมีความสนใจในการทำธุรกิจเพาะปลูกอ้อยและฝ้ายขนาดใหญ่ในแองโกลา นอกจากนี้ แองโกลายังมีศักยภาพมากในด้านการประมง ซึ่งถือเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญเป็นอันดับ 3 ของแองโกลา รองจากอุตสาหกรรมน้ำมันและเหมืองเพชร ขณะนี้แองโกลาได้ลงนามในความตกลงด้านประมงกับ สเปน โปรตุเกส และอิตาลีแล้ว
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ภาคอุตสาหกรรม
แองโกลามีการทำอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมผลิตอาหารสำเร็จรูป เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ วัสดุก่อสร้าง โลหะ ผงซักฟอก ยาสูบ จักรยานยนต์ และเคมีภัณฑ์ โดยอุตสาหกรรมของแองโกลาจะรวมตัวอยู่ในเมืองใหญ่ เช่นเมือง Luanda, Lobito และ Huambo นอกจากนี้ แองโกลามีบ่อเพชรขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ปัจจุบันผลิตได้ปีละ 9 แสนกะรัต (ในช่วงก่อนสงครามกลางเมือง แองโกลาสามารถผลิตเพชรได้ปีละประมาณ 2 ล้านกะรัต)
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐแองโกลา
การเมือง
ไทยและแองโกลาได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2535 ไทยมอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรียมีเขตอาณาครอบคลุมแองโกลา สำหรับฝ่ายแองโกลาได้มอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูตแองโกลาประจำสาธารณรัฐอินเดียมีเขตอาณาครอบคลุมไทย
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
เศรษฐกิจ
การค้าของไทยกับแองโกลามีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2543-2549 ยกเว้นปี 2546 ที่มีมูลค่าการค้าลดลง โดยในช่วงปี 2543-2545 ไทยเป็นฝ่ายขาดดุลการค้า เนื่องจากไทยนำเข้าสัตว์น้ำสด แช่เย็น แช่แข็ง แปรรูปและกึ่งสำเร็จรูปจากอังโกลาจำนวนมาก แต่ในปี 2546-2547 ไทยนำเข้าลดลงและส่งสินค้าออกมากขึ้น โดยเฉพาะปี 2547 ไทยส่งออกข้าวไปแองโกลาจำนวนมากทำให้ช่วง 2 ปีนี้ ไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบดุลการค้า อย่างไรก็ตาม ในปี 2548-2549 นั้น ไทยเป็นฝ่ายเสียเปรียบดุลการค้า เนื่องจากนำเข้าน้ำมันดิบจากแองโกลาเป็นมูลค่าหลายพันล้านบาท
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
สินค้าหลักที่ไทยส่งออกไปแองโกลาได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ข้าว อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่นๆ และสินค้าหลักที่ไทยนำเข้าจากแองโกลา ได้แก่ น้ำมันดิบ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ สัตว์น้ำสด แช่เย็น แช่แข็ง แปรรูปและกึ่งสำเร็จรูป พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช และเคมีภัณฑ์
ลู่ทางการประกอบธุรกิจในแองโกลา ได้แก่ การขายสินค้าอุปโภคบริโภค การลงทุนทำป่าไม้ เฟอร์นิเจอร์ไม้ เหมืองพลอย การปศุสัตว์ การประมง อุตสาหกรรม ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และของใช้ที่ทำด้วยพลาสติก เป็นต้น
สถิติการค้าไทย - แองโกลา ดูเอกสารแนบ
ความตกลงที่สำคัญๆ กับไทย ที่ผ่านมา ไทย-แองโกลายังไม่เคยลงนามความตกลงระหว่างกัน
การแลกเปลี่ยนการเยือนที่สำคัญ
ฝ่ายไทย
ที่ผ่านมายังไม่เคยมีพระราชวงศ์เสด็จฯ เยือนแองโกลา และยังไม่มีผู้แทนรัฐบาลไทยเยือนแองโกลาเช่นกัน
ฝ่ายแองโกลา
- วันที่ 13 -15 ตุลาคม 2544 Dr. George Rebelo Pinto Chikoti รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศนำคณะเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ เพื่อนำสารจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแองโกลามอบให้แก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศไทย
- วันที่ 28-30 สิงหาคม 2548 นาย Abraao Pio dos Santos Gourgel รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นำคณะนักธุรกิจเยือนประเทศไทย และได้เข้าเยี่ยมคารวะนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ ในขณะนั้นดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ นายสาธิต ศิริรังคมานนท์ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ผู้แทนทางการทูต
ฝ่ายไทย
เอกอัครราชทูตประจำสาธารณรัฐแองโกลา ถิ่นพำนัก ณ กรุงพริทอเรีย คือ
นายโดมเดช บุนนาค (H.E. Mr. Domedej Bunnag)
ที่อยู่ของสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรีย
Royal Thai Embassy
428 Pretorius/Hill Street
Arcadia, Pretoria 0083
P.O. Box 12080
Hatfield, Pretoria 0028
Tel. (27-12) 342-1600, 342-4516,
342-4600, 342-4506, 342-5470
Fax. (27-12) 342-4805, 342-3986
E-mail : info@thaiembassy.co.za
Consular Info : visa@thaiembassy.co.za
Trade Info : trade@thaiembassy.co.za
Technical : webmaster@thaiembassy.co.za
Website : http://www.thaiembassy.co.za
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ฝ่ายแองโกลา
เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐแองโกลาประจำประเทศไทย ถิ่นพำนัก ณ กรุงนิวเดลี
คือ H.E.Mr.Antonio da Costa Fernandes
ที่อยู่สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐแองโกลา ณ กรุงนิวเดลี
The Embassy of the Republic of Angola
5 Poorvi Marg,
Vasant Vihar,
New Delhi, 110057
The Republic of India
Tel. (91-11) 2614-6197, 2614-6195
Fax. (91-11) 2614-6190, 2614-6184
Website: http://www.angolaembassyindia.com
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ที่ตั้ง แองโกลาตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริกาบนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก
พื้นที่ 1,246,700 ตร.กม. (481,354 ตร.ไมล์)
ประชากร 16.4 ล้านคน ประกอบด้วยชาวพื้นเมือง
เผ่า Ovimbundu ร้อยละ 37
เผ่า Kimbundu ร้อยละ 25
เผ่า Bakongo ร้อยละ 13
เผ่า Mestico ร้อยละ 2
ชาวยุโรป ร้อยละ 1 และชนชาติอื่น ๆ ร้อยละ 22
อัตราการเพิ่มประชากร ร้อยละ 2.18 (2549)
เมืองหลวง กรุงลูอันดา (Luanda)
วันชาติ 11 พฤศจิกายน (Independence Day)
รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบหลายพรรค มีประธานาธิบดีเป็นประมุขภายใต้รัฐบาลปรองดองแห่งชาติชั่วคราว (Transitional Government of National Unity)
ประมุขแห่งรัฐ ประธานาธิบดี José Eduardo dos Santos
นายกรัฐมนตรี นาย Fernando da Piedade Dias dos Santos
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นาย João Bernardo de Miranda (เข้ารับตำแหน่งตั้งแต่พ.ศ. 2542)
ฝ่ายบริหาร มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล โดยได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้ง นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี
ฝ่ายนิติบัญญัติ มีระบบสภาเดียวเรียกว่าสภาแห่งสาธารณรัฐ ประกอบด้วยสมาชิก 220 คน ซึ่งได้รับเลือกตั้งโดยระบบสัดส่วน มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี
ฝ่ายตุลาการ มีศาลฎีกาเป็นศาลสูงสุด โดยผู้พิพากษาได้รับการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี
พรรคการเมือง ที่สำคัญ มี 2 พรรคคือ Popular Movement for the Liberation of Angola (MPLA) และ National Union for the Total Independence of Angola (UNITA)
การแบ่งเขตการปกครอง แบ่งออกเป็น 18 Provinces คือ Bengo, Benguela, Bie, Cabinda, Cuando Cubango, Cuanza Norte, Cuanza Sul, Cunene, Huambo, Huila, Luanda, Lunda Norte, Lunda Sul, Malanje, Moxico, Namibe, Uige, Zaire
ภาษา ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการ และภาษา Bantu เป็นภาษาท้องถิ่น
ศาสนา ศาสนาคริสต์โรมันคาทอลิคร้อยละ 38 โปรเตสแตนท์ร้อยละ 15 ความเชื่อดั้งเดิมของท้องถิ่นร้อยละ 47
ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมัน เพชร ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม แก๊ส เหล็ก ทองแดง แมงกานีส
สกุลเงิน Kwanzas
อัตราแลกเปลี่ยน 80.5 Kwanzas ต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ (2549)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ 28.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2549)
รายได้ประชาชาติต่อหัว 1,410 ดอลลาร์สหรัฐ (2549)
อัตราการเจริญเติบโต 14.2% (2549)
ทางเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 13.2 (2549)
หนี้สินต่างประเทศ 14.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2549)
สินค้าเข้าที่สำคัญ เครื่องจักรกล อุปกรณ์ไฟฟ้า ยานพาหนะและชิ้นส่วน ยารักษาโรค อาหาร สิ่งทอ อุปกรณ์ทางการทหาร
สินค้าออกที่สำคัญ น้ำมันดิบ เพชร ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ กาแฟ เส้นใย ปลา
ประเทศคู่ค้าสำคัญ ส่งออกไปยัง สหรัฐ ฯ 38.9% จีน 29% ฝรั่งเศส 7.7%, ชิลี 5.3% สเปน 2.9%
นำเข้าจากเกาหลีใต้ 27.5% โปรตุเกส 12.6% สหรัฐฯ 11.8% แอฟริกาใต้ 7.2% บราซิล 5.4% (2549)
การคมนาคม
ถนน ในปี 2537 ถนนทั้งหมดมีความยาว 75,000 กิโลเมตร และในปี 2532 มีรถยนต์โดยสารส่วนบุคคลจำนวน 125,000 คัน และยานพาหนะที่ใช้ในการพาณิชย์จำนวน 42,000 คัน ถนนหลายสายยังคงมีกับระเบิดฝังอยู่ สืบเนื่องมาจากสงครามกลางเมือง ขณะนี้โครงการกู้กับระเบิดและซ่อมแซมถนนกำลังดำเนินอยู่
ทางรถไฟ ในปี 2530 ทางรถไฟที่เปิดให้บริการมีความยาว 2,952 กิโลเมตร ในปี 2536 มีผู้โดยสารรถไฟ 4,000,000 คน และขนส่งสินค้า 2.8 ล้านตัน
การบินพลเรือน มีสนามบินนานาชาติที่เมือง Luanda สายการบินแห่งชาติชื่อ Linhas Aereas de Angola (TAAG) นอกจากนี้ สายการบินอื่นที่บินผ่าน ได้แก่ Aeroflot, Air France, Air Gabon, Air Namibia, Ethiopian Airlines, Lina Congo, SABENA, South African Airways, และ TAP Air Portugal ในปี 2534 มีผู้โดยสารเครื่องบินจำนวน 0.46 ล้านคน
การเดินเรือ มีท่าเรือที่เมือง Luanda, Libito และ Namibe มีบริษัทเดินเรือของรัฐ 3 บริษัท
โทรคมนาคม ในปี 2548 มีโทรศัพท์จำนวน (โดยประมาณ) 94,300 เครื่อง สถานีวิทยุดำเนินงานโดยรัฐบาล ในปี 2536 มีวิทยุจำนวน 0.45 ล้านเครื่องและโทรทัศน์จำนวน 50,000 เครื่อง
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
การเมืองการปกครอง
ประวัติศาสตร์โดยสังเขป
แองโกลาได้รับเอกราชจากโปรตุเกสเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 1975 (2518) และเป็นประเทศสังคมนิยมค่ายโซเวียตซึ่งตกอยู่ในภาวะสงครามกลางเมืองมาโดยตลอด ต่อมาหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต แองโกลาได้เปลี่ยนชื่อประเทศจาก “People’s Republic of Angola” เป็น “Republic of Angola” เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 1992 (2535) และดำเนินนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจเสรี และระบอบประชาธิปไตยแบบหลายพรรคการเมืองแทนการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์เดิม
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
สถานการณ์การเมือง
ภายหลังจากการลงนามข้อตกลงสันติภาพ (Bicess Peace Accord) เมื่อวันที่ 1พฤษภาคม 1991 (2534) แองโกลาได้จัดการเลือกตั้งแบบหลายพรรคการเมืองเมื่อวันที่ 29-30 กันยายน 1992 (2535) และผลปรากฏว่าพรรค MPLA ของรัฐบาลชนะการเลือกตั้งโดยได้ที่นั่งส่วนใหญ่ในสภา แต่พรรคฝ่ายค้าน UNITA ไม่ยอมรับผลการเลือกตั้ง แม้ UN ยืนยันว่าเป็นการเลือกตั้งที่บริสุทธิ์ยุติธรรม และสหรัฐฯ ได้รับรองรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในครั้งนี้ (19 พฤษภาคม 2536) ดังนั้น UNITA จึงหันไปใช้วิธีการรุนแรงเข้าต่อต้านรัฐบาลอีก
ประชาคมโลกได้พยายามบีบให้ UNITA หยุดการต่อสู้ และ UN ได้พยายามจัดให้ทั้งสองฝ่ายเจรจาสันติภาพ ในที่สุดทั้งสองฝ่ายได้ร่วมลงนามในสัญญาสันติภาพ Lusaka Protocol ที่ประเทศแซมเบีย เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 1994 (2537) อย่างไรก็ตามประธานาธิบดี Dos SANTOS และนาย SAVIMBI ผู้นำฝ่าย UNITA มิได้ลงนามในสัญญาสันติภาพด้วยตนเอง จึงทำให้มีการสู้รบกันอย่างประปราย จนกระทั่งประธานาธิบดี Dos SANTOS และนาย SAVIMBI ตกลงกันในการประชุม Angolan Peace Summit ซึ่งมีขึ้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 1995 (2538) ว่าจะร่วมกันปฏิบัติตามบทบัญญัติ Lusaka Protocol ทั้งนี้ จึงส่งผลให้ UN สามารถส่งกองกำลังสันติภาพจำนวนกว่า 7,000 นาย เข้าไปในแองโกลาเพื่อควบคุมสถานการณ์ในแองโกลาและช่วยให้การแบ่งอำนาจของทั้งสองฝ่ายดำเนินไปโดยสันติ
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ต่อมา มีการพบกันระหว่างประธานาธิบดี Dos SANTOS และ Jonas SAVIMBI เป็นครั้งที่ 4 ที่ Libreville ในกาบอง เพื่อหารือเรื่องการปลดอาวุธของกองกำลัง UNITA และการเปิดเส้นทางการเดินทางภายในประเทศโดยเฉพาะในส่วนเมือง Cafunfu ศูนย์กลางการผลิตเพชรของประเทศ เมือง Soyo เมืองผลิตน้ำมัน และเมือง Huambo เมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของแองโกลาที่อยู่ในการดูแลของฝ่ายกบฏ UNITA แต่ยังเป็นที่น่าสงสัยว่าฝ่ายกบฏ UNITA มีความจริงใจมากน้อยเพียงใดต่อสนธิสัญญาการหยุดยิง เนื่องจากการปลดอาวุธของกองกำลัง UNITA จำนวนกว่า 60,000 คนนั้นเป็นไปอย่างเชื่องช้า
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
อย่างไรก็ตาม ทั้งสองฝ่ายสามารถบรรลุการจัดตั้งรัฐบาลแห่งชาติอีกครั้งในปี 1997 (2540) แต่หลังจากนั้นไม่นานก็ได้เกิดการสู้รบกันอีกเนื่องจากฝ่าย UNITA กล่าวหาว่าฝ่ายรัฐบาลไม่มีความจริงใจที่จะปฏิบัติตาม Lusaka Protocol ในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2002 (2545) นาย Savimbi ผู้นำของ UNITA ได้ถูกสังหารโดยกองกำลังของรัฐบาล ซึ่งการเสียชีวิตของผู้นำ UNITA ครั้งนี้ นับเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญซึ่งนำไปสู่การจัดทำข้อตกลงหยุดยิงระหว่างรัฐบาลกับ UNITA ในเดือนเมษายนปีเดียวกัน ในขณะเดียวกันสหประชาชาติก็ได้เข้ามามีบทบาทในการปลดอาวุกองกำลัง UNITA และดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตาม Lusaka Protocol ต่อมา คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้ประกาศยกเลิกการคว่ำบาตร UNITA ตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2002 (2545) เป็นต้นไป ในขณะที่ UNITA ก็ได้ปรับเปลี่ยนสถานะมาเป็นพรรคการเมืองเพื่อเตรียมการแข่งขันกับพรรค MPLA (Popular Movement for the Liberation of Angola) ในการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2005 (2548) อย่างไรก็ตาม UNITA ต้องประสบกับปัญหาการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นพรรคการเมืองที่เข้มแข็งเนื่องจากขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภายในของตนเอง
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ขณะเดียวกัน พรรค MPLA ซึ่งมีประธานาธิบดี Dos Santos เป็นหัวหน้าพรรค มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นภายหลังจากที่ได้รับชัยชนะในสงครามกลางเมือง การบริหารประเทศของนาย Dos Santos เน้นการควบคุมสื่อและเศรษฐกิจอย่างเข้มงวดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน นอกจากนั้น ประธานาธิบดี Dos Santos ได้พยายามสร้างเครือข่ายอำนาจให้แก่ตนเองโดยอาศัยระบบอุปถัมถ์และการควบคุมจากส่วนกลางเป็นพื้นฐาน
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ภายหลังจากการสิ้นสุดสงครามกลางเมือง แม้ว่าแองโกลาจะถูกกดดันจากประชาคมระหว่างประเทศให้รีบดำเนินการจัดการเลือกตั้ง แต่จนถึงบัดนี้ยังมิได้มีการกำหนดวันที่แน่นอน โดยรัฐบาลได้อ้างถึงความไม่พร้อมในการรวบรวมสถิติประชากรและความจำเป็นในการซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ที่ถูกทำลายในช่วงสงคราม อย่างไรก็ดี มีการคาดการณ์กันว่า การเลือกตั้งในแองโกลาจะยังคงไม่เกิดขึ้นภายในต้นปี 2007 (2550) นี้ และยังไม่สามารถระบุได้ว่า ประธานาธิบดี Dos Santos จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีอีกสมัยหรือไม่
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
ความสัมพันธ์กับประเทศในโลกตะวันตก
ในอดีต รัฐบาลประเทศตะวันตกไม่ให้การรับรองรัฐบาลของนาย Dos Santos ด้วยเหตุผลในเรื่องของความไม่โปร่งใสในการบริหารประเทศ อีกทั้งรัฐบาลของนาย Dos Santos ยังรับการสนับสนุนด้านอาวุธจากสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็นและช่วงการทำสงครามกลางเมืองกับกลุ่ม UNITA อย่างไรก็ดี ปัจจุบันรัฐบาลแองโกลาได้ปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ด้านการเมืองและการต่างประเทศใหม่ โดยคำนึงถึงการเข้ามามีส่วนร่วมของ UNITA ในการกำหนดนโยบายต่างประเทศ และเน้นการดำเนินโยบายต่างประเทศที่โปร่งใสและคำนึงถึงผลในทางปฏิบัติ (Pragmatic and Transparent Diplomacy) ทั้งนี้ แองโกลามีท่าทีที่ชัดเจนในการสนับสนุนหลักการอยู่ร่วมกันโดยสันติ การไม่แทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน และการละเว้นการใช้กำลังในการยุติข้อพิพาท โดยเฉพาะภายหลังปี 2539 ที่แองโกลาค้นพบบ่อน้ำมันแหล่งใหม่ในน้ำลึก เป็นเวลาเดียวกันกับที่สหรัฐอเมริกาต้องการลดการพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันจากตะวันออกกลาง สหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตก จึงเริ่มมีท่าทีผ่อนปรนและเป็นมิตรกับ แองโกลามากยิ่งขึ้น
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในเอเชีย
ในอดีต แองโกลาและแอฟริกาใต้แข็งขันที่จะก้าวขึ้นเป็นผู้นำของอนุภูมิภาคแอฟริกาตอนใต้ อีกทั้ง ผู้นำของทั้ง 2 ประเทศมีความเห็นไม่ตรงกันในการแก้ไขปัญหาสงครามกลางเมืองในแองโกลา ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างกันไม่ค่อยราบรื่นนัก อย่างไรก็ตาม แองโกลาเป็นประเทศที่มีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก และเคยประสบความสำเร็จในการไกล่เกลี่ยให้ยูกันดาถอนกองกำลังออกจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
ในทวีปเอเชีย จีนเป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับแองโกลามากที่สุด โดยขณะนี้ มีนักธุรกิจจีนจำนวนมากเข้าไปลงทุนในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง การสื่อสารโทรคมนาคม การค้า พลังงานและเหมืองแร่ และขณะเดียวกันอินเดียก็เป็นอีกประเทศหนึ่งจากเอเชียที่กำลังเริ่มขยายการลงทุนเข้าไปในแองโกลาเช่นกัน
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
เศรษฐกิจการค้า
สภาพเศรษฐกิจ
แองโกลาเป็นประเทศใหญ่ที่มีประชากรน้อย มีทรัพยากรธรรมชาติที่มั่งคั่ง ได้แก่ น้ำมัน เพชร ทองคำ ทองแดง เหล็ก แมงกานีส ยูเรเนียม และทรัพยากรประมง อย่างไรก็ตาม รัฐบาลใช้รายได้จากน้ำมันและเพชรของประเทศไปในการซื้ออาวุธเพื่อทำสงครามต่อสู้กับฝ่ายกบฏที่กินเวลานับสิบปี ประกอบกับการบริหารจัดการที่ผิดพลาดของรัฐบาลเอง ด้วยเหตุนี้ แองโกลาจึงตกอยู่ในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ประสบปัญหาเงินเฟ้อและปัญหาการขาดดุลการค้า ปัญหาหนี้สินต่างประเทศ รวมทั้งปัญหาการขาดแคลนอาหารภายในประเทศอย่างรุนแรงจนต้องนำเข้าอาหารจากต่างประเทศถึงร้อยละ 75 ทั้งนี้ ปัจจุบัน แองโกลามีรายได้จากการส่งออกน้ำมันเป็นมูลค่ามหาศาล ทำให้สถานการณ์เศรษฐกิจภายในประเทศดีขึ้น
ทรัพยากรน้ำมัน
ปัจจุบัน เศรษฐกิจแองโกลาพึ่งพาน้ำมันเป็นหลัก โดยในปี 2548 การส่งออกน้ำมันคิดเป็นร้อยละ 65 ของ GDP และร้อยละ 90 ของรายได้รัฐบาล ทั้งนี้ รายได้จากน้ำมันได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2543-2548 คือ เพิ่มขึ้นจาก 4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็น 10.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยแองโกลาส่งออกน้ำมันมากกว่าร้อยละ 90 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด แม้ว่าจะไม่ได้เป็นสมาชิกของกลุ่ม OPEC แต่แองโกลา เป็นประเทศแอฟริกาที่ส่งออกน้ำมันเป็นปริมาณมากที่สุดลำดับสองรองจากไนจีเรีย ปัจจุบัน แองโกลามีแหล่งน้ำมันดิบสำรองประมาณ 5.7 พันล้านบาร์เรล และผลิตน้ำมันได้ วันละประมาณ 700,000 บาร์เรล
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ภาคการเกษตร
แองโกลาเคยเป็นประเทศที่สามารถผลิตผลผลิตทางการเกษตรได้มากประเทศหนึ่งของแอฟริกา (เคยผลิตกาแฟได้มากเป็นอันดับ 5 ของโลก) แต่ภาวะการสู้รบและกับระเบิดที่ฝังอยู่อย่างกระจัดกระจาย ทำให้แองโกลาประสบปัญหาขาดแคลนปัจจัยพื้นฐานในการทำการเกษตร เช่น แหล่งน้ำ ปุ๋ย และเมล็ดพันธุ์ต่างๆ อย่างไรก็ดี สถานการณ์ภายในแองโกลามีแนวโน้มที่จะดีขึ้น โดยบริษัทต่างชาติหลายบริษัทเริ่มเข้าไปมีความสนใจในการทำธุรกิจเพาะปลูกอ้อยและฝ้ายขนาดใหญ่ในแองโกลา นอกจากนี้ แองโกลายังมีศักยภาพมากในด้านการประมง ซึ่งถือเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญเป็นอันดับ 3 ของแองโกลา รองจากอุตสาหกรรมน้ำมันและเหมืองเพชร ขณะนี้แองโกลาได้ลงนามในความตกลงด้านประมงกับ สเปน โปรตุเกส และอิตาลีแล้ว
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ภาคอุตสาหกรรม
แองโกลามีการทำอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมผลิตอาหารสำเร็จรูป เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ วัสดุก่อสร้าง โลหะ ผงซักฟอก ยาสูบ จักรยานยนต์ และเคมีภัณฑ์ โดยอุตสาหกรรมของแองโกลาจะรวมตัวอยู่ในเมืองใหญ่ เช่นเมือง Luanda, Lobito และ Huambo นอกจากนี้ แองโกลามีบ่อเพชรขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ปัจจุบันผลิตได้ปีละ 9 แสนกะรัต (ในช่วงก่อนสงครามกลางเมือง แองโกลาสามารถผลิตเพชรได้ปีละประมาณ 2 ล้านกะรัต)
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐแองโกลา
การเมือง
ไทยและแองโกลาได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2535 ไทยมอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรียมีเขตอาณาครอบคลุมแองโกลา สำหรับฝ่ายแองโกลาได้มอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูตแองโกลาประจำสาธารณรัฐอินเดียมีเขตอาณาครอบคลุมไทย
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
เศรษฐกิจ
การค้าของไทยกับแองโกลามีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2543-2549 ยกเว้นปี 2546 ที่มีมูลค่าการค้าลดลง โดยในช่วงปี 2543-2545 ไทยเป็นฝ่ายขาดดุลการค้า เนื่องจากไทยนำเข้าสัตว์น้ำสด แช่เย็น แช่แข็ง แปรรูปและกึ่งสำเร็จรูปจากอังโกลาจำนวนมาก แต่ในปี 2546-2547 ไทยนำเข้าลดลงและส่งสินค้าออกมากขึ้น โดยเฉพาะปี 2547 ไทยส่งออกข้าวไปแองโกลาจำนวนมากทำให้ช่วง 2 ปีนี้ ไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบดุลการค้า อย่างไรก็ตาม ในปี 2548-2549 นั้น ไทยเป็นฝ่ายเสียเปรียบดุลการค้า เนื่องจากนำเข้าน้ำมันดิบจากแองโกลาเป็นมูลค่าหลายพันล้านบาท
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
สินค้าหลักที่ไทยส่งออกไปแองโกลาได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ข้าว อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูปอื่นๆ และสินค้าหลักที่ไทยนำเข้าจากแองโกลา ได้แก่ น้ำมันดิบ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ สัตว์น้ำสด แช่เย็น แช่แข็ง แปรรูปและกึ่งสำเร็จรูป พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช และเคมีภัณฑ์
ลู่ทางการประกอบธุรกิจในแองโกลา ได้แก่ การขายสินค้าอุปโภคบริโภค การลงทุนทำป่าไม้ เฟอร์นิเจอร์ไม้ เหมืองพลอย การปศุสัตว์ การประมง อุตสาหกรรม ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และของใช้ที่ทำด้วยพลาสติก เป็นต้น
สถิติการค้าไทย - แองโกลา ดูเอกสารแนบ
ความตกลงที่สำคัญๆ กับไทย ที่ผ่านมา ไทย-แองโกลายังไม่เคยลงนามความตกลงระหว่างกัน
การแลกเปลี่ยนการเยือนที่สำคัญ
ฝ่ายไทย
ที่ผ่านมายังไม่เคยมีพระราชวงศ์เสด็จฯ เยือนแองโกลา และยังไม่มีผู้แทนรัฐบาลไทยเยือนแองโกลาเช่นกัน
ฝ่ายแองโกลา
- วันที่ 13 -15 ตุลาคม 2544 Dr. George Rebelo Pinto Chikoti รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศนำคณะเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ เพื่อนำสารจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแองโกลามอบให้แก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศไทย
- วันที่ 28-30 สิงหาคม 2548 นาย Abraao Pio dos Santos Gourgel รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นำคณะนักธุรกิจเยือนประเทศไทย และได้เข้าเยี่ยมคารวะนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ ในขณะนั้นดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ นายสาธิต ศิริรังคมานนท์ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ผู้แทนทางการทูต
ฝ่ายไทย
เอกอัครราชทูตประจำสาธารณรัฐแองโกลา ถิ่นพำนัก ณ กรุงพริทอเรีย คือ
นายโดมเดช บุนนาค (H.E. Mr. Domedej Bunnag)
ที่อยู่ของสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพริทอเรีย
Royal Thai Embassy
428 Pretorius/Hill Street
Arcadia, Pretoria 0083
P.O. Box 12080
Hatfield, Pretoria 0028
Tel. (27-12) 342-1600, 342-4516,
342-4600, 342-4506, 342-5470
Fax. (27-12) 342-4805, 342-3986
E-mail : info@thaiembassy.co.za
Consular Info : visa@thaiembassy.co.za
Trade Info : trade@thaiembassy.co.za
Technical : webmaster@thaiembassy.co.za
Website : http://www.thaiembassy.co.za
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ฝ่ายแองโกลา
เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐแองโกลาประจำประเทศไทย ถิ่นพำนัก ณ กรุงนิวเดลี
คือ H.E.Mr.Antonio da Costa Fernandes
ที่อยู่สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐแองโกลา ณ กรุงนิวเดลี
The Embassy of the Republic of Angola
5 Poorvi Marg,
Vasant Vihar,
New Delhi, 110057
The Republic of India
Tel. (91-11) 2614-6197, 2614-6195
Fax. (91-11) 2614-6190, 2614-6184
Website: http://www.angolaembassyindia.com
แนะนำวีซ่าธุรกิจประเทศแองโกลา ในจังหวัดสุพรรณบุรี